📱 เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับลูกค้า ท่านสามารถติดต่อ Bitkub Exchange ผ่านหมายเลขโทรศัพท์ใหม่ของ Bitkub Call Center ได้ที่หมายเลข 1518
โปรดศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมที่ การเปิดใช้งานเบอร์โทรศัพท์ใหม่ 1518 สำหรับติดต่อ Bitkub Call Center

กระบวนการขุดเหรียญอีเธอเรียมทำงานอย่างไร ?

แก้ไขเมื่อ วันเสาร์, 18 กุมภาพันธ์, 2023 เมื่อ 8:43 PM

กระบวนการขุดเหรียญอีเธอเรียมนั้นคล้ายกับบิตคอยน์มาก ๆ โดยเหล่านักขุดเหรียญจะใช้คอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ที่ซับซ้อนเพื่อปลดล็อกเหรียญคริบโทฯ นั้น ๆ ซึ่งจุดประสงค์ของการขุดคือเพื่อสร้างเหรียญ Ether (ETH) ขึ้นมาโดยไม่ต้องผ่านเครือข่ายอีเธอเรียมนั่นเอง รางวัลการขุดเหรียญอีเธอเรียมมีมูลค่าอยู่ที่ 5 ETH ต่อหนึ่งบล็อก โดยปกติแล้ว ธนาคารจะรับหน้าที่เป็นคนกลางในการตรวจสอบธุรกรรมทั้งหมด โดยจะตรวจสอบว่าเงินทั้งหมดที่วิ่งผ่านระบบเป็นของจริงหรือไม่ นอกเหนือจากหน้าที่ขุดเหรียญแล้ว นักขุดยังต้องคอยตรวจสอบความถูกต้องของธุรกรรม รวมทั้งช่วยปกป้องเครือข่ายให้ปลอดภัยอีกด้วย ซึ่งหน้าที่เหล่านี้ถือเป็นวิธีที่ดีป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นระหว่างการทำธุรกรรม ก่อนที่ในเวลาต่อมา เครือข่ายอีเธอเรียมจะเริ่มหันไปใช้กลไก Proof-of-Work (PoW)

 

Proof-of-stake (PoS) เป็นโปรโตคอลที่ทำให้กระบวนการขุดทั้งหมดเกิดขึ้นได้ โดยในระบบ Proof-of-Stake นี้ จะมีผู้ตรวจสอบหรือ Validators แทนผู้ขุด ผู้ตรวจสอบจะทำการ Stake เหรียญเอาไว้ หลังจากนั้น ผู้ใช้งานจะสามารถเริ่มตรวจสอบบล็อกได้ ทำหน้าที่เป็น Validator Node เพื่อรับค่าตอบแทน โดยท่านจะสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้โดยการวางเดิมพันบนบล็อกนั้น ท่านจะได้รับรางวัลตามสัดส่วนเงินเดิมพันที่ลงทุนไป หากท่านแพ้เดิมพัน เงินเดิมพันที่ลงทุนจะหายไป

 

แม้ว่าเครือข่ายอีเธอเรียม กำลังมองหาโซลูชันอื่น ๆ ในการตรวจสอบความถูกต้องของการทำธุรกรรม แต่การขุดยังคงเป็นส่วนสำคัญของระบบบล็อกเชน ในท้ายที่สุดระบบ Proof-of-Work ของอีเธอเรียมจะกลายเป็นระบบไฮบริด โดยที่ธุรกรรมส่วนใหญ่จะทำงานบนระบบ Proof-of-Work ในขณะที่ทุก ๆ ธุรกรรมที่ 100 จะทำงานบนระบบ Proof-of-Stake

 

ท่านสนใจซื้อ Ethereum รึเปล่า ? ดูตลาดของเราได้ที่นี่https://www.bitkub.com/market/ETH 

 

บทความนี้มีประโยชน์หรือไม่?

เยี่ยมเลย!

ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ

ขออภัยที่เราช่วยเหลือไม่ได้!

ขอบคุณสำหรับความคิดเห็นของคุณ

บอกให้เราทราบว่าเราจะปรับปรุงบทความนี้ได้อย่างไร!

เลือกเหตุผลอย่างน้อยหนึ่งข้อ
ต้องมีการตรวจสอบ CAPTCHA

ส่งข้อเสนอแนะแล้ว

เราขอขอบคุณในความพยายามของคุณ และจะพยายามแก้ไขบทความดังกล่าว